Understanding purchasing and consumption behaviour is a key challenge for marketers. |
การทำความเข้าใจพฤติกรรมการเลือกซื้อและบริโภค คือ ความท้าทายสำคัญของนักการตลาด
|
Consumer behaviour, in its broadest sense, is concerned with understanding both how purchase decisions are made and how products or services are consumed or experienced. |
"พฤติกรรมของผู้บริโภค" หากกล่าวในภาพรวม คือ การทำความเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งในเรื่องการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและการใช้งานสินค้าหรือการเข้ารับบริการ |
Some purchase decisions involve long, detailed processes that include extensive information search to select between competing alternatives. |
ในบางครั้งการเลือกซื้อสินค้าก็มีรายละเอียดมากมายและใช้เวลาในการตัดสินใจที่ยาวนาน เนื่องจากผู้บริโภคต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจโดยเปรียบเทียบระหว่างตัวเลือกต่าง ๆ |
Other purchase decisions, such as impulse buys or habitual purchases, are made almost instantaneously with little or no investment of time or effort in information search. |
แต่ในทางกลับกัน การเลือกซื้อสินค้าในบางครั้งก็เกิดขึ้นแบบไม่ยั้งคิดหรืออาจเป็นการซื้อแบบปกตินิสัยของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าประเภทนั้น ๆ เป็นประจำอยู่แล้ว ซึ่งพฤติกรรมการเลือกซื้อดังกล่าวมักเกิดขึ้นแบบทันทีทันใด โดยที่ผู้บริโภคแทบจะไม่ต้องหาข้อมูลเพิ่มเติมเลย |
Some purchase decisions are made by groups (such as families, households or businesses) while others are made by individuals. |
นอกจากนี้บางครั้งการเลือกซื้อสินค้าก็เกิดจากการตัดสินใจร่วมกันแบบกลุ่ม(อาทิ ครอบครัว สมาชิกในครัวเรือน หรือกลุ่มธุรกิจ) ในขณะที่การเลือกซื้อสินค้าแบบอื่น ๆ นั้นเป็นการตัดสินใจส่วนบุคคล |
When a purchase decision is made by a small group, such as a household, different members of the group may become involved at different stages of the decision process and may perform different roles. |
เมื่อการเลือกซื้อสินค้าเกิดขึ้นจากกลุ่มคนขนาดเล็ก อาทิ สมาชิกในครัวเรือน ซึ่งแต่ละคนอาจมีส่วนร่วมในการตัดสินใจคนละขั้นตอน ทุกคนจึงมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันในกระบวนการการตัดสินใจ |
For example, one person may suggest the purchase category, another may search for product-related information while yet another may physically go to the store, buy the product and transport it home. |
ยกตัวอย่าง เช่น คนแรกแนะนำประเภทสินค้า อีกคนหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสินค้า ในขณะที่คนอื่น ๆ อาจไปยังร้านค้าเพื่อซื้อสินค้ากลับมาที่บ้าน |
It is customary to think about the types of decision roles; such as: |
มีธรรมเนียมให้คิดพิจารณาเกี่ยวกับผู้มีบทบาทตัดสินใจประเภทต่าง ๆ เช่น |
The Initiator |
ผู้ริเริ่ม |
the person who proposes a brand (or product) for consideration (something in return); |
คือ บุคคลที่เสนอยี่ห้อสินค้า(หรือผลิตภัณฑ์)เพื่อพิจารณา(เพื่อให้ได้รับผลประโยชน์กลับมา); |
The Influencer |
ผู้มีอิทธิพล |
someone who recommends a given brand; |
คือ บุคคลที่แนะนำยี่ห้อสินค้า; |
The Decider |
ผู้ตัดสินใจ |
the person who makes the ultimate purchase decision; |
คือ บุคคลที่ตัดสินใจเลือกซื้อในท้ายที่สุด; |
The Purchaser |
ผู้จัดซื้อ |
the one who orders or physically buys it; |
คือ บุคคลที่สั่งซื้อหรือซื้อสินค้าโดยตรง; |
The User |
ผู้ใช้งาน |
the person who uses or consumes the product. |
คือ บุคคลที่ใช้งานหรือบริโภคสินค้า; |
In a family unit, the adult female often makes brand choices on behalf of the entire household, while children can be important influencers |
ในครอบครัว ผู้ใหญ่เพศหญิงมักเป็นตัวแทนของบ้านในการเลือกยี่ห้อสินค้า ในขณะที่เด็ก ๆ ก็สามารถเป็นผู้มีอิทธิพลสำคัญได้เช่นกัน |